การงาน ของ คีตาญชลี ราว (นักวิทยาศาสตร์)

คีตาญชลีได้รู้ถึงกรณีวิกฤตน้ำที่ฟลินท์จากการชมข่าว[8][9][10] เธอจึงเริ่มมีความสนใจเกี่ยวกับวิธีในการตรวจวัดระดับตะกั่วในน้ำ เธอได้พัฒนาอุปกรณ์ซึ่งใช้คาร์บอนนาโนทูบที่สามารถส่งข้อมูลด้วยระบบบลูทูธ[11] คีตาญชลีมีโอกาสได้ร่สมงานกับนักวิทยาศาสตร์วิจัยที่ 3M[12] ในปี 2017 เธอชนะการแข่งขันนักวิทยาศาสตร์เยาวชนดิสคัฟเวอรีเอดูเคชั่น 3 เอ็ม และได้รับเงินรางวัล $25,000 จากผลงานสิ่งประดิษฐ์ของเธอ เทธิส (Tethys)[5][13][14] เทธิส ประกอบด้วยแบตเตอรีขนาด 9 โวลต์, หน่อยตรวจจับตะกั่ว, ส่วนต่อขยายบลูทูธ และโปรเซสเซอร์[5] สิ่งประดิษฐ์นี้ใช้คาร์บอนนาโนทูบ (carbon nanotubes) ซึ่งค่าความต่างศักย์จะเปลี่ยนเมื่อถูกตะกั่ว[4][15] เธอเรียนรู้เรื่องคาร์บอนนาโนทูบจากเว็บไซต์ของสถาบันเอ็มไอที[16]

แหล่งที่มา

WikiPedia: คีตาญชลี ราว (นักวิทยาศาสตร์) https://www.americanbazaaronline.com/2017/10/19/in... https://edition.cnn.com/2017/11/28/health/gitanjal... https://www.denverpost.com/2017/11/22/americas-top... https://www.fastcompany.com/40439492/this-11-year-... https://www.forbes.com/profile/gitanjali-rao/?sh=4... https://abcnews.go.com/GMA/video/meet-11-year-deve... https://www.rookiemag.com/2018/01/finding-solution... https://sn56.scholastic.com/issues/2017-18/020518/... https://www.thecut.com/2017/10/gitanjali-rao-lead-... https://time.com/5916772/kid-of-the-year-2020/